THE BASIC PRINCIPLES OF ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Basic Principles Of ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Basic Principles Of ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

อีกหนึ่งปัจจัยที่กีดกันเด็กออกจากระบบการศึกษาคือ เพศสภาพ กล่าวคือ แม้เด็กหญิงในหลายพื้นที่จะได้รับโอกาสให้เข้าถึงการศึกษาเพิ่มขึ้น แต่ถ้ามองภาพรวมในระดับโลก เด็กหญิงยังมีอัตราการเข้าโรงเรียนน้อยกว่าเด็กชายถึงสองเท่า แม้แต่ในภูมิภาคที่ค่อนข้างมีความเท่าเทียมด้านเพศสภาพอย่างแอฟริกาเหนือและตะวันออกกลางก็ยังเจอการกีดกันนี้อยู่

แผนการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี

นอกจากปัญหาเรื่องความรู้และคุณวุฒิการศึกษาของครูที่ต้องการแนวนโยบายการแก้ไปขปัญหาที่ต่อเนื่องและยั่งยืนแล้ว ครูนกมองว่าสิ่งที่จะทำให้ปัญหาถูกแก้ไขได้ตรงความต้องการ และยั่งยืน ต้องเริ่มจากวิสัยทัศน์ของคนทำงาน มีการวางแผนยุทธการที่มีความต่อเนื่องในการดำเนินงานแม้มีการเปลี่ยนผ่านผู้บริหาร/ผู้บังคับบัญชา/บุคลากรในโรงเรียน และมีนโยบายที่สามารถแก้ปัญหาของคนทำงานได้จริง จะทำให้การขับเคลื่อนการดำเนินงานไปได้อย่างราบรื่นเห็นเป้าหมายการพัฒนาที่ชัดเจนโดยให้ผลงานการดำเนินงานเป็นเครื่องพิสูจน์

ครูผู้ทำหน้าที่คัดกรองนักเรียนส่วนหนึ่งไม่มีความชำนาญด้านการใช้เทคโนโลยี ทำให้ต้องไหว้วานครูหรือบุคลากรคนอื่นกรอกข้อมูลแทน เมื่อต้องทำการตรวจสอบหรือยืนยันข้อมูลจากผู้คัดกรองโดยตรงจึงอาจทำได้ยาก

ถ้ามีโอกาสได้เรียนรู้วิชาชีพครู จะช่วยสร้างทักษะการเรียนรู้ให้เด็กได้มากกว่านี้ 

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

ประเทศไทยถูกฉุดรั้งด้วยความเหลื่อมลํ้าทั้งในทางเศรษฐกิจและด้านสังคม

ปลดล็อกท้องถิ่น – โรงเรียน เพิ่มโอกาสกระจายทรัพยากร

ภาพจากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)

The cookie is about by GDPR cookie consent to history the consumer consent ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา for the cookies while in the classification "Practical".

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

ครอบครัวเปรียบเสมือนทุนทางสังคมและวัฒนธรรมของบุคคล ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการให้ความสำคัญกับการศึกษา โดยครอบครัวที่มีการดูแลเอาใจใส่ และเลี้ยงดูบุตรหลานมาอย่างมีคุณภาพ มักมีการส่งเสริม หรือแสวงหาโอกาสทางการศึกษาที่ดีให้ลูกหลาน ในทางตรงกันข้าม หากครอบครัวใดที่ไม่ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษา หรือไม่ได้ใส่ใจบุตรหลานมากเพียงพอ อาจมีแนวโน้มว่าบุตรหลานจะไม่ใส่ใจ และไม่ให้ความสำคัญกับการศึกษา ดังนั้น การที่เด็กแต่ละคนเติบโตมาในสภาพสังคม และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อาจได้รับการขัดเกลาทางสังคมในด้านการให้ความสำคัญกับการศึกษาที่แตกต่างกัน

เพื่อไม่ให้เด็กและเยาวชนหลุดจากระบบการศึกษาไปมากกว่านี้ นอกจากภาครัฐจะพิจารณาในฐานะที่เป็นเรื่องเร่งด่วน และมีมาตรการในการช่วยเหลือดูแลกลุ่มเด็กที่มีปัญหาการเข้าถึงระบบการศึกษาและมีประสิทธิภาพ เราทุกคนในสังคมที่อยากเห็นประเทศไทยขับเคลื่อนไปสู่อนาคตที่ดีก็สามารถช่วยกันคนละไม้คนละมือคอยประคับประคอง มอบโอกาสและช่วยกันโอบอุ้มเด็กๆ ไม่ให้หลุดจากระบบการศึกษา ให้สามารถก้าวเดินไปสู่อนาคตที่พวกเขาคาดหวังไว้ได้ ถือเป็นจุดเริ่มต้นและก้าวสำคัญของระบบการศึกษาไทย

Report this page